Page 10 - น้ำท่วมซ้ำซาก 10 จังหวัดภาคเหนือ
P. 10
2
ทันสมัย เป็นปัจจุบันและมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น เพื่อให้สามาถน้าไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาน้้าท่วม
ซ้้าซาก การเตรียมการป้องกันและเตือนภัย การวางแผนการเพาะปลูกก่อนการท้าการเกษตรซึ่งจะช่วยในการ
ป้องกันและบรรเทาความเสียหายจากอุทกภัยที่อาจจะเกิดขึ้นต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และข้อมูลส้ารวจระยะไกลในการปรับปรุง
ขอบเขตและฐานข้อมูลพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากให้เป็นปัจจุบัน
1.2.2 เพื่อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก
1.3 ขอบเขตการด าเนินการ
ท้าการศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากโดยพิจารณาจากพื้นที่ราบลุ่มต่้าที่มีภูมิสัณฐานประเภทที่
ราบน้้าท่วมถึง (Floodplain) ซึ่งเป็นที่ราบริมแม่น้้าหรือล้าธารและเป็นพื้นที่ที่ในฤดูฝนมักมีน้้าท่วมขังอยู่ใน
พื้นที่เสมอ ร่วมกับการวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียมและฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่ที่เคยประสบอุทกภัย
เปรียบเทียบในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา คือตั้งแต่ปี 2545 ถึงปี 2554 เพื่อก้าหนดขอบเขตพื้นที่น้้าท่วม
ซ้้าซากบริเวณภาคเหนือ
1.4 ระยะเวลาด าเนินการและพื้นที่ศึกษา
ระยะเวลาด าเนินการ เริ่มต้น ตุลาคม พ.ศ. 2555
สิ้นสุด สิงหาคม พ.ศ. 2556
พื้นที่ศึกษา ภาคเหนือ ( 17 จังหวัด )
1.5 ขั้นตอนและวิธีการด าเนินการ
1.5.1 ตรวจสอบเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวกับน้้าท่วมซ้้าซากในประเทศไทย สถิติของเหตุการณ์การ
เกิดอุทกภัยที่เคยเกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน
1.5.2 รวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมเอกสารและข้อมูลต่างๆ ในรูปรายงานและแผนที่ที่เกี่ยวข้อง
กับการศึกษาพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดังนี้
- ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมซ้้าซากที่ด้าเนินการโดยกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2548
- ข้อมูลพื้นที่น้้าท่วมตั้งแต่ปี 2545-2554
- ข้อมูลสถิติทางอุตุนิยมวิทยา สถิติปริมาณน้้าฝนรายวัน รายปี จ้านวนวันที่ฝนตก อัตราการ
ระเหยของน้้า ความสามารถในการอุ้มน้้าของดิน ปริมาณน้้าท่าในพื้นที่ลุ่มน้้า ความสามารถในการรับน้้าของ
พื้นที่ลุ่มน้้า ลักษณะทางอุทกศาสตร์ของลุ่มน้้า สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน ความลาดเทของพื้นที่ พิจารณา