Page 9 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 9

1





                                                          บทที่ 1

                                                           บทนำ



                  1.1   หลักการและเหตุผล


                        ภัยแลงถือเปนภัยธรรมชาติท่มีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของมนุษยเปนอยางมาก เพราะ
                                                 ี
                                  ิ
                  นอกจากจะทำใหเกดภาวะความแหงแลงแลวยังทำใหคุณภาพชีวิตของมนุษยลดต่ำลงอยางเห็นไดชัด สำหรับ
                                       
                   ิ
                                                                               
                  อทธิพลของสภาวะแวดลอมทเปลี่ยนแปลงอันมีสาเหตุมาจากการตดไมทำลายปา การทำไรเลื่อนลอย
                                                                            ั
                                           ี่
                                                                              ั
                                                  
                  การเผาหญาหรือพืชไรเพื่อเตรียมพื้นที่กอนการเพาะปลูก ทำใหเกิดฝุนควนปกคลุม เปนมลภาวะทางอากาศ
                  การเกิดภาวะเรือนกระจกจากปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่ปกคลุม ชั้นบรรยากาศของโลก เกิดภาวะ
                  โลกรอน สงผลทำใหเกิดภูมิอากาศแปรปรวน  เกดภัยพิบัติขั้นรุนแรง ขึ้นอยางบอยครั้งในหลายพื้นท  ี่
                                                         ิ
                        ปจจุบันภาคตะวนออกของประเทศไทยเปนภาคหนึ่งที่มีความเสี่ยงตอการเกิดภัยแลง โดยนับวันจะทวี
                                     ั
                                                                               
                                                     ้
                                                        ี
                  ความรุนแรงและขยายขอบเขตมากขึ้น ทังที่มปริมาณฝนเฉลี่ยรายปคอนขางสง โดยภัยแลงสวนใหญเปน
                                                                            
                                                                                    ู
                                                                                  ้
                  ภัยแลงเปนเวลานานในชวงเดือนมีนาคม และเดือนเมษายน และเกิดฝนทิงชวงในชวงฤดูฝน คือเดือน
                                                 ึ
                                                                           ี่
                                                              ี
                                                                                                         ้
                  มิถุนายนตอเนื่องเดือนกรกฎาคม ซ่งสรางความเสยหายตอพนทเกษตรกรรมเปนประจำทุกป ดังนัน
                                                                        ื้
                  การศึกษาในครั้งนี้ ไดนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร มาใชเพือกำหนดขอบเขตพนทแลงซ้ำซากของ
                                                                       ่
                                                                                            ี่
                                                                                         ื้
                  ภาคตะวนออก โดยมการวเคราะหปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการเกิดแลงซ้ำซาก ซึ่งแบงออกเปน ปจจัยคงท ไดแก  
                                   ี
                                                                                                       
                         ั
                                                                                                    ี่
                                       ิ
                  เขตชลประทาน ระยะหางจากลำน้ำ การระบายน้ำของดิน และความลาดชันของพื้นที่ และในสวนของปจจัยผัน
                  แปร ไดแก ความตองการน้ำของพืช และปริมาณน้ำฝนรวมเฉลี่ย 10 ป เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่แลงซ้ำซาก ซึง
                                                                                                         ่
                                                              ี่
                                                                                 ้
                                   ั
                  จะทำใหทราบถึงระดบความรุนแรง และจำนวนพื้นทที่เสี่ยงตอการเกดแลงซำซาก ซงจะเปนขอมูลพื้นฐานใน
                                                                                        ึ่
                                                                           ิ
                  การวางแผนการจัดการพื้นที่เกษตรกรรมอยางยั่งยืน
                                                                           ึ่
                                                                                         ู
                                         
                                  ี่
                        กรมพัฒนาทดินจึงไดดำเนินการจัดทำแผนที่แลงซ้ำซากขึ้น ซงใชเปนฐานขอมลในการวางนโยบาย
                                                                                                  ั
                       ั
                  การพฒนาพื้นที่เกษตรกรรม และแนวทางการใชประโยชนที่ดินเชิงพื้นที่ ซึ่งมีความถูกตองในระดบหนึ่ง แต 
                                                              ี่
                  เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงประเภทการใชประโยชนทดิน ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใน
                  ปจจุบัน ทำใหสงผลกระทบตอสภาวการณการเกดภัยแลงถี่ครั้งขึ้น และอาจสงผลใหพื้นที่ประสบภัยขยาย
                                                           ิ
                      
                  วงกวางมากยิ่งขึ้น ดังนั้นการนำเทคโนโลยีท่ทันสมัย เชน ระบบสารสนเทศภูมศาสตร ขอมูลการสำรวจ
                                                                                     ิ
                                                       ี
                                                                                        ี
                  ระยะไกล การใชแบบจำลอง ขอมูลทางสถิติมาประยุกตใชในการปรับปรุงแผนท่แลงซ้ำซาก จะทำให
                  ฐานขอมูลดังกลาวมีความทันสมัย เปนปจจุบันและมความถูกตองมากยิ่งขึน เพ่อนำไปใชประโยชนใน
                                                                ี
                                                                                  ้
                                                                                       ื
                                                
                  การแกไขปญหาภัยแลงของประเทศตอไป
                  1.2   วัตถุประสงค  
                        1.1.1  เพื่อประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  และขอมูลสำรวจระยะไกลในการปรับปรุงขอบเขต
                  พื้นที่ประสบสภาวะแหงแลงซ้ำซาก
                        1.1.2 เพือเสนอแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมที่ประสบภัยแลง
                               ่
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14