Page 10 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 10
2
1.3 ผูดำเนินงาน
1.3.1 ที่ปรึกษาโครงการ
นายเชฐฏรุจ จันทรแปลง ผูอำนวยการกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
่
ิ
ื้
ิ
นางสาวพมพิลัย นวลละออง ผูอำนวยการกลุมวางแผนการจัดการทดนในพนทีเสี่ยงภัย
ี่
ทางการเกษตร
1.3.2 ผูรับผิดชอบโครงการ
นางสาวอัจฉรี สิงหโต
1.3.3 ผูรวมดำเนินงาน
นางสาวทรงลักษณ ตันติพรวนิชกุล
ี
่
ิ
1.4 ระยะเวลาและสถานทดำเนนการ
1.4.1 ระยะเวลา 1 ป งบประมาณ ป พ.ศ. 2566 เริ่มเดือนตุลาคม ป พ.ศ. 2565 – สิ้นสุดเดอน
ื
ั
กนยายน ป พ.ศ. 2566
ั
1.4.2 สถานทีดำเนินการ ภาคตะวนออก 7 จังหวัด คือ จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัด
่
ชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดสระแกว
1.5 อปกรณและวิธีการดำเนินการ
ุ
1.5.1 อุปกรณในการดำเนินงาน
1) โปรแกรม Microsoft Word
2) โปรแกรม Microsoft Excel
3) โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร ในการจัดทำแผนที่ในการวิเคราะหขอมูล
4) เครื่องพิมพ (Printer)
1.5.2 การเก็บรวบรวมขอมูลเอกสารประกอบ รวบรวมขอมูลพื้นฐานสำคัญที่ใชในการศึกษาวิเคราะห
พื้นที่แลงซ้ำซากในพื้นที่ทำการเกษตร ดังนี้
1) แผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1: 50,000 กรมแผนที่ทหาร พ.ศ. 2556
2) ขอมูลสภาพภูมิอากาศ ขอมูลปริมาณน้ำฝนรายป ยอนหลัง 10 ป
3) ขอมูลอุทกวิทยา ไดแก ขอมูลแหลงน้ำผิวดิน กรมพัฒนาที่ดิน (ยอนหลัง 10 ป)
ั
่
4) ขอมูลกลุมชุดดิน พ.ศ. 2556 มาตราสวน 1: 25,000 กรมพฒนาทีดิน
5) ขอมูลสภาพการใชที่ดิน (ยอนหลัง 10 ป) มาตราสวน 1 : 25,000 กรมพัฒนาที่ดิน
6) ขอมูลความลาดชันของพื้นท คำนวณจากขอมูลความสูงเชิงเลข ของประเทศไทย ที่มีความ
ี่
ละเอียด 5 เมตร กรมพัฒนาที่ดิน
7) แผนที่พื้นที่ชลประทาน พ.ศ. 2557 มาตราสวน 1 : 50,000 กรมชลประทาน
8) ขอมูลความตองการน้ำของพืช (Crop Requirment)
9) ขอมูลขอบเขตการปกครอง พ.ศ. 2556 มาตราสวน 1: 50,000 กรมการปกครอง