Page 11 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 11
3
1.6 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
การวิเคราะหเชิงพื้นท สามารถสรุปในแตละขั้นตอนไดดังนี้
ี่
ี
ี
ี่
1.6.1 การคัดเลือกปจจัยโดยพิจารณาจากปจจัยทเกี่ยวของท่เปนปจจัยคงท่ เชนความลาดชัน
การระบายน้ำ ระยะหางจากลำน้ำ เปนตน
ู
ื
1.6.2 การเตรียมขอมูลเชิงพ้นท่ เปนขอมลปจจัยตาง ๆ ในรูปแบบแผนท่ท่มีรายละเอียดและ
ี
ี
ี
ี
มาตราสวนทเหมาะสม ซึ่งควรเปนขอมูลที่มาตราสวนเดยวกัน พรอมทำการตรวจสอบและแกไขขอมูลเพอ
ี่
ื่
ความถูกตองกอนนำไปประยุกตใช
็
1.6.3 การนำเขาและจัดเกบขอมลในระบบสารสนเทศภูมศาสตร เปนการจัดการขอมูลใหอยูใน
ู
ิ
รูปแบบโครงสรางแบบราสเตอรหรือเวคเตอรตามตองการ
1.6.4 แปลงขอมูลสภาพภูมิอากาศ ไดแก ขอมลปริมาณน้ำฝนรายป (ยอนหลัง 10 ป) ของแตละป
ู
่
ื
้
ุ
ุ
ทุกสถานีตรวจวัดอากาศของกรมอตนิยมวิทยาใหอยูในรูปขอมูลเชิงพืนทีเพ่อนำไปวิเคราะหรวมกับ
สภาพการใชทดินและความตองการน้ำของพืชรวมกันเพื่อเปนปจจัยผันแปรในการวิเคราะหรวมกับปจจัย
ี่
คงทเพื่อหาพนที่แหงแลงของแตละป หลังจากแปลงขอมูลปจจัยตาง ๆ ใหอยูในรูปแบบของฐานขอมูลใน
ี่
ื้
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรแลว นำขอมูลมาวิเคราะหโดยการซอนทบขอมูลดวยระบบสารสนเทศ
ั
ภูมิศาสตรและกำหนดคาถวงน้ำหนักในแตละปจจัยโดยใหน้ำหนัก เรียงลำดับตามความสำคัญมากนอย
ี
1.6.5 วเคราะหขอมลเชิงพนที โดยใชปจจัยทมความเกียวของกับพื้นที่ศึกษาและทมีอทธิพลตอการ
้
ี่
่
ี่
่
ิ
ู
ิ
ื
เกิดพื้นที่แลงซำซากมากที่สุด มีการกำหนดคะแนนความสำคัญ ทั้ง 6 ปจจัย โดยกำหนดคาถวงน้ำหนักให
้
แตละปจจัย และระดับคาถวงน้ำหนักใหแตละประเภทขอมูล โดยวิธีเฉลี่ยคาคะแนนจากผูเชี่ยวชาญ และ
คณะกรรมการกลมของหนวยงาน จากนั้นทำการซอนทับขอมูล (Overlay) พรอมเงื่อนไขตามที่กำหนดไว
ุ
ี
ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และหาความสัมพันธของปจจัยแตละปจจัยดังกลาว ดวยวธการถวงคา
ิ
่
้
น้ำหนักในแตละปจจัย การประเมนพื้นที่แลงซ้ำซาก จะใชวิธีวิเคราะหพืนทีโดยระบบสารสนเทศภูมศาสตร
ิ
ิ
ิ
และกำหนดตัวแปรจากปจจัยที่ทำใหเกิดภัยแลง สามารถแบงปจจัยในการวเคราะหออกเปน 2 กลุมปจจัย
คือ กลุมปจจัยคงที่ กับ กลุมปจจัยผันแปร ดังนี้
1) กลุมปจจัยคงท ี่
ี่
ื้
ี
ี่
(1) พนทเขตชลประทาน จะเปนขอมูลทบงชี้ถึงระยะทางของพนทที่มศักยภาพในการ
ี่
ื้
ทำการเกษตรสูง แหลงน้ำตนทนมแนนอน และมีการบริหารจัดการน้ำใหเพยงพอในการใชเพอการเกษตร ซึง
ุ
ื
ี
ี
่
่
พื้นที่นอกเขตชลประทาน มีโอกาสประสบปญหาภัยแลงมากกวาพื้นที่ในเขตชลประทาน
ู
ี่
ั
(2) ระยะทางจากแหลงน้ำผิวดิน จะเปนขอมลที่บงชี้ถึงระยะทางของพื้นที่ทอยูใกลกบ
แหลงน้ำผิวดิน เชน แมน้ำ ลำคลอง ซึ่งหากฝนไมตกตอเนืองเปนเวลานาน พื้นทที่อยูไกลจากแหลงน้ำผิวดน
ิ
่
ี่
มีความเสี่ยงตอการเกิดภัยแลง อาจขาดน้ำเพอการเกษตรได
ื
่
(3) ความสามารถในการอุมน้ำของดิน เปนตัวชีวัดระดบความสามารถในการเก็บกักน้ำ
้
ั
ิ
ิ
ิ
้
ไวใชได ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะทางกายภาพพืนฐานของดนนั้น ๆ โดยพจารณาจากคณสมบัตการระบายน้ำ
ุ
ิ
ความสามารถในการอุมน้ำของดนแตละชนิด ซึ่งมีผลตอความชื้นในดิน และความเปนประโยชนตอการใชน้ำของพช
ื