Page 22 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 22
13
กลุมชุดดินที่ 5
่
ี่
้
ื้
ิ
ิ
ลักษณะดน : เกดจากตะกอนลำน้ำ ในบริเวณพนที่ราบตะกอนน้ำพา พืนทีเปนทราบลุมหรือราบเรียบ เปน
ดินลกมการระบายน้ำเลว ดนบนเปนดินรวนเหนียว หรือดินเหนียว สีเทาแก ดนลางเปนดนเหนียว
ิ
ี
ิ
ิ
ึ
็
ั
้
สีน้ำตาลออนหรือเทา มีจุดประสีน้ำตาล เหลือง หรือแดงตลอดชันดิน มกพบกอนเคมีสะสมของเหลก และ
ุ
แมงกานีสปะปนอยู และในดินลางลึก ๆ อาจพบกอนปูน ความอดมสมบูรณคอนขางต่ำ - ปานกลาง pH ประมาณ
5.5 - 6.5 แตถามีกอนปูนปะปน pH จะอยูในชวง 7.0 - 8.0
กลุมชุดดินที่ 6
่
ี
ิ
ี
ื
ิ
ลักษณะดน : เกดจากตะกอนลำน้ำ ในบริเวณพ้นท่ราบตะกอนน้ำพา พ้นทเปนท่ราบเรียบหรือคอนขาง
ื
ี
ราบเรียบ เปนดินลึกมีการระบายน้ำเลวหรือคอนขางเลว ดินบนเปนดินรวนเหนียว หรือดนเหนียว สีเทาแก ดินลาง
ิ
ิ
ี
ี
เป น ด น เหนี ยวสน้ ำ ตา ลออน หรือเท า ม จุดป ร ะสี น้ำ ตา ล เหลื อง ห รือแดงตลอดชั น ด น
ิ
้
บางแหงมีศิลาแลงออน หรือ กอนเคมีสะสมของเหล็กและแมงกานีส ความอุดมสมบูรณต่ำหรือคอนขางต่ำ
pH 4.5 - 5.5
กลุมชุดดินที่ 7
ี
ิ
่
ื้
ี่
้
ลักษณะดิน : เกดจากตะกอนลำน้ำ ในบริเวณพนทราบตะกอนน้ำพา พนที่เปนทราบเรียบหรือคอนขาง
ื
ราบเรียบ เปนดินลึกมีการระบายน้ำเลวหรือคอนขางเลว ดินบนเปนดินรวนเหนียว หรือดินเหนียว สีเทาแก ดินลาง
ิ
เป น ดน เห นียวสีน้ ำตา ลออน เท า ห รือ น้ำตาลปน เท า ม จุดปร ะสีน้ำ ตา ล เห ลือง ห รือ
ี
แดงตลอดชันดิน ความอดมสมบูรณปานกลาง pH 6.0 - 7.0
ุ
้
กลุมชุดดินที่ 8
ี
ิ
ลักษณะดน : เปนกลุมดนที่มการยกรอง เนื้อดินเปนดินเหนียว ดินบนมีลักษณะการทับถมเปนชั้น ๆ ของ
ิ
ี
ื
ดิน และอินทรียวัตถุ ที่ไดจากการขุดลอกรองน้ำ ดินลางมีสีเทา บางแหงมเปลอกหอยปนอยู
กลุมชุดดินที่ 9
ิ
ิ
ลักษณะดน : เกดจากตะกอนผสมของตะกอนลำน้ำ และตะกอนน้ำทะเลแลวพัฒนาในสภาพน้ำกรอย พบใน
บริเวณทีราบลุมชายฝงทะเล ที่อาจมีน้ำทะเลหรือน้ำกรอยทวมเปนครั้งคราว เปนดินลึก ระบายน้ำเลว เนื้อดินเปน
่
ื
้
ื
ดินเหนียว สีเทา มีจุดประสีเหลืองหรือแดงปะปน พบจุดประสีเหลองฟางขาวของจาโรไซตในระดับตนกวา 50
่
ิ
้
เซนติเมตร ดินลางสีเทาปนเขียว มีเศษซากพืชทกำลังเนาเปอย ความอดมสมบูรณตำ ปฏิกิริยาดนชันบนเปนกรด
ุ
ี่
จัดมากหรือเปนกรดรุนแรงมาก pH 4.5 หรือนอยกวา สวนดินลางเปนดนเลน pH ประมาณ 7.0 - 8.5
ิ
กลุมชุดดินที่ 10
ลักษณะดน : เกิดจากตะกอนผสมของตะกอนลำน้ำ และตะกอนน้ำทะเลแลวพฒนาในสภาพน้ำกรอย พบใน
ิ
ั
ี่
บริเวณทราบลุม หางจากทะเลไมมากนัก เปนดินลึก มีการระบายน้ำเลวหรือคอนขางเลว เนื้อดิน
ี
้
เปนดินเหนียว สีดำหรือเทาแก ดินลางสเทา มีจุดประสีน้ำตาล เหลืองหรือแดงปะปนตลอดชันดิน พบจุดประสี
้
ิ
เหลองฟางขาวของจาโรไซตในระดับตืนกวา 50 เซนติเมตร ความอุดมสมบูรณต่ำ ปฏิกิริยาดน
ื
เปนกรดจัดมาก หรือเปนกรดรุนแรงมาก pH นอยกวา 4.5