Page 17 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 17

8





                  2.2   ลักษณะภูมิประเทศ


                                                                                                  ั
                        การวางตวของพืนทีลุมน้ำชายฝงทะเลตะวันออก มีลักษณะทอดตัวไปตามแนวจากทศตะวนตกไปยัง
                                        ่
                                                                                             ิ
                               ั
                                     ้
                                                          ื
                  ตะวันออก พื้นที่ทางทศเหนือสวนใหญเปนแนวเทอกเขา ที่ราบสวนใหญจะอยูบริเวณริมฝงลําน้ำ และที่ราบ
                                    ิ
                                                   ั
                                               ิ
                                                            ี
                                                                        ั
                  ริมฝงทะเลอาวไทยทางทิศใตและทศตะวนตก โดยมลําน้ำสายสําคญในพื้นทลุมน้ำ ซึ่งมีทิศทางการไหลจาก
                                                                                ี่
                                                                                        ั
                                                           
                                                                                                 
                                       
                  ทิศเหนือลงมาออกทะเลอาวไทยทางทศใต ไดแก คลองใหญ แมน้ำประแสร คลองวงโตนด แมน้ำจันทบุรี
                                                        
                                                     
                                                  ิ
                  และแมน้ำตราด สามารถแบงพื้นที่ไดเปน 4 ลักษณะ ดงนี  ้
                                                               ั
                                                ี
                                                ่
                        2.2.1 ที่ราบชายฝงทะเลและทราบลุมแมน้ำ เริ่มตนจากที่ราบลุมแมน้ำเจาพระยา บางปะกง ขนานไป
                                                        ี่
                                    ั
                  กับฝงทะเลไปยังจังหวดระยอง มีลักษณะเปนทราบแคบ ๆ ชายฝงทะเลเกดจากตะกอนน้ำเค็ม และน้ำกรอย
                                                                              ิ
                                   
                                                                               ี
                                                                        
                  และตะกอนจากแมน้ำ มีภูเขาลูกเล็กๆ สลับอยูบางตอน ชายฝงทะเลมลักษณะเวาแหวง บางแหงเปน
                                                  ี
                  ปากแมน้ำหรือทลุมน้ำทะเลทวมถึง มปาชายเลนหรือปาโกงกางขึ้น เชนที่ปากแมน้ำระยอง และแมน้ำ
                                ี
                                ่
                                                                                                        
                                                                            ั
                  ประแสร บางแหงเปนหาดทรายที่สวยงาม ไดแก หาดบางแสน หาดพทยา และหาดนาจอมเทยนในจังหวด
                                                          
                                                                                                         ั
                                                                                               ี
                  ชลบุรี หาดแมรําพึง หาดบานเพ และหาดแมพิมพในจังหวัดระยอง
                                                                                        ่
                                                                                        ี
                        2.2.2 ที่ราบลูกคลื่นและเนินเขา เปนสวนที่อยูสูงถัดจากที่ราบลุมแมน้ำและทราบชายฝงทะเลขึ้นไป
                                                                 ี่
                                                     ั
                                                              ื้
                                             ี
                  เปนที่ราบลูกคลื่นและเนินเขาเตยๆ สลับกน ไดแก พนทดานทศตะวันออกของจังหวัดชลบุรี และตอนบน
                                             ้
                                                                      ิ
                  ของจังหวัดระยอง กอนที่ถึงบริเวณภูเขาสูงชัน
                                                                                       ้
                                                             ู
                        2.2.3 ท่สูงชันและภูเขา เปนเขตทมีความสงจากระดับทะเลปานกลางตังแต 200 เมตรขึ้นไป
                                                      ่
                                                      ี
                              ี
                                                                              ่
                                              ี
                                              ่
                                                                                                   
                                                                                           ี่
                                           ้
                  ครอบคลุมอาณาบริเวณของพืนท มักจะทอดตัวในแนวเหนือใตสลับกับทีราบ ยอดเขาทสูง ไดแก เขาสอย
                       
                  ดาวใต มีความสงประมาณ 1,600 เมตรจากระดบน้ำทะเล ภูเขาสวนใหญเปนหินแกรนิต หินดาดโซฟลไลท  
                                                                                                      
                                                          ั
                               ู
                  และหินปูน
                                                                                           ิ
                                                                                                         
                                                                                                   ี
                        2.2.4 เกาะตางๆ ประกอบดวยเกาะใหญนอย อยูหางจากชายฝงตังแต 2-40 กโลเมตร มมากกวา
                                                                                ้
                                                                
                  50 เกาะ เกาะขนาดใหญ และที่สําคัญมีจํานวนมากกวา 15 เกาะ เชน เกาะสีชังและเกาะลานในจังหวัด
                  ชลบุรี เกาะเสม็ดในจังหวัดระยอง  และหมูเกาะชางในจังหวัดตราด  เปนตน

                  2.3   สภาพภูมิอากาศ
                                                                                                 ั
                        ลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันออกคลายคลึงกับภาคใต คือ ทางตอนบนของภาคจากจังหวดปราจีนบุรี
                                                                     
                                              ั
                  จังหวัดสระแกว จังหวัดชลบุรี จังหวดระยอง และจังหวัดฉะเชิงเทรา จะมีลักษณะอากาศแบบสะวันนา สวนทาง
                                                                                                         ั
                                                                                 ี
                  ตอนลาง คือจันทบุรีและตราด จะมีลักษณะอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม คือ มฝนตกชุก อากาศรอนชื้น จังหวด
                  ที่มีปริมาณฝนมากที่สุดคือ จังหวัดตราด มีปริมาณน้ำฝนรวมเฉลี่ย 4,548 มิลลิเมตร และจังหวัดที่มีฝนตกนอย
                  ที่สุดคือ ชลบุรี ปริมาณน้ำฝนรวมเฉลี่ย 1,497 มิลลิเมตร ฤดูกาลของภาคตะวันออก แบงออกเปน 3 ฤด
                                                                                                          ู
                  (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2566) ดังนี้
                        2.3.1 ฤดูรอน เริ่มตนเดอนกุมภาพันธถึงเดือนเมษายน รวม 3 เดือน ซึ่งชวงนี้จะมีลมพัดจากทศใตเขา
                                                                                                       
                                                                                                    ิ
                                           ื
                                                                                                     ่
                                                                         
                                                                                                     ั
                  สูภาคตะวันออกอากาศจึงไมรอนมาก  จึงทำใหเปนเขตทองเที่ยวพักผอนตากอากาศของประชาชนโดยทวไป
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22