Page 21 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 21
12
2.4 ทรัพยากรดิน
ี
ลักษณะโดยทั่วไปของดินในพื้นที่กลุมจังหวัดภาคตะวันออก เปนดินที่เกิดจากการผุกรอนของภูเขา มการ
ระบายน้ำดี แตใชเพาะปลูกไดไมนานก็หมดธาตอาหาร ตองใชปุยเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ เปนดินทเหมาะสมตอ
ี่
ุ
การเพาะปลูกพืชไร ยางพารา และทำสวนผลไม
ในพื้นที่ชายฝงทะเลมีลักษณะเปนดินตะกอนตามชายฝงหรือที่ลุมริมทะเล ดินเลนน้ำเค็มเหมาะแกการ
เจริญเตบโตของแสม โกงกาง ไมพุมเตี้ย และไมลำตนออน เนื่องจากพื้นที่กลุมจังหวัดภาคตะวันออกตั้งอยูติดกับชายฝงอาวไทย
ิ
ิ
ี
ี
ื
ทำใหคุณสมบัติของดินในพื้นที่มีทั้งขอดขอเสีย คอ มขอไดเปรียบดานความอุดมสมบูรณของดน เนื่องจากวัตถุตนกำเนิดดิน
ิ
ี
่
ี่
ั
ั
ุ
เปนดินตะกอนปากแมน้ำ ทับถมกัน ในขณะเดียวกน พื้นทตดกบทะเลมปญหาเรืองน้ำเค็มและน้ำกรอยสงผลตอคณภาพของ
ิ
ดินเปนดินเปรี้ยวและดินเค็ม จากสภาพพื้นที่ดังกลาวในพื้นที่ภาคตะวันออก พบกลุมชุดดนหลัก ๆ (สำนักสำรวจดนและวาง
ิ
แผนการใชที่ดิน, 2548) ไดดังนี้
กลุมชุดดินที่ 1
ี
ลักษณะดิน : เกิดจากตะกอนน้ำ บริเวณเทือกเขาหินปูนหรือหินภูเขาไฟ ลักษณะดนเปนดินลึก มการระบาย
ิ
ิ
้
น้ำเลวหรือคอนขางเลว เนือดินเปนดินเหนียวจัด หนาดนแตกเปนรองลึกในฤดูแลง มกพบรอยไถล
ั
ี
ในดิน สีดินสวนมากเปนสีดำหรือสีเทาแก มีจุดประสีแดง เหลือง อาจพบจุดประสีแดงบาง ชั้นดินลางมักมกอนปูน
ุ
ู
ปะปน pH ประมาณ 6.5 - 8.0 มีความอดมสมบูรณปานกลางถึงสง
กลุมชุดดินที่ 2
ลักษณะดน : เกดจากวตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนผสมของตะกอนลำน้ำ และตะกอนน้ำทะเลแลวพัฒนา
ั
ิ
ิ
ในสภาพน้ำกรอย พบบริเวณชายฝงทะเลดินมีการระบายน้ำเลว เนื้อดินเปนดนเหนียวจัด สีดินเปนสีเทาหรือเทาแก
ิ
ตลอด มีจุดประสีน้ำตาล เหลือง หรือแดงปะปน อาจพบผลึกยิปซัมบางเล็กนอย และพบชั้นดินเหนียวสีเทาทมีจุดประ
ี่
ิ
ึ
ิ
้
่
ิ
สีเหลืองของจาโรไซต ทีความลก 100 - 150 เซนตเมตร ทับอยูบนชันดินเลนตะกอนน้ำทะเลสีเทาปนเขียว ปฏิกริยาดน
เปนกรดจัดมาก pH ประมาณ 4.5 - 5.0 มีความอุดมสมบูรณปานกลาง
กลุมชุดดินที่ 3
ลักษณะดน : เกิดจากวตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนผสมของตะกอนลำน้ำ และตะกอนน้ำทะเลแลวพัฒนา
ิ
ั
ใน สภาพน้ำ กรอย พบบริเวณทร าบลุมชายฝงทะเลหรือหางจ ากทะเลไมมา นัก เปน ดิน ลึก
ี่
ิ
ิ
มีการระบายน้ำเลว เนื้อดนเปนดินเหนียวจัด ดนบนสีดำ สวนดินลางสีเทาหรือน้ำตาลออน มีจุดประสีเหลืองและ
ั
่
ิ
น้ำตาลตลอดชั้นดน บางบริเวณอาจพบจุดประสีแดง หรือพบผลึกยิปซมบาง ทีความลึก 100 - 150 เซนตเมตร พบ
ิ
ี
ชั้นตะกอนสีเขียวมะกอกและมเปลือกหอยปะปน pH ประมาณ 6.5 - 8.0 ดนมีความอดมสมบูรณปานกลางถึงสูง
ิ
ุ
กลุมชุดดินที่ 4
ี่
ิ
ลักษณะดน : เกิดจากตะกอนลำน้ำ พบบริเวณทราบตะกอนน้ำพา พืนที่เปนทีราบลุมหรือราบเรียบ เปนดน
่
ิ
้
ิ
ิ
้
ี
ลึกมการระบายน้ำเลวหรือคอนขางเลว เนือดนเปนดนเหนียวหรือดินเหนียวจัด สีดำ หรือสีเทาเขม ดินลางสีเทา
น้ำตาล น้ำตาลออน หรือเทาปนเขียวมะกอก มีจุดประสีน้ำตาลปนเหลือง เหลือง หรือแดง อาจพบกอนปูน หรือ
ุ
็
ิ
ี
กอนเคมีสะสมของเหลกและแมงกานีสในดนลาง ดินมความอดมสมบูรณปานกลาง pH ประมาณ 5.5 - 6.5 แตถา
มีกอนปูนปะปน pH จะอยูในชวง 7.0 - 8.0