Page 77 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 77

68




                               5.2.2 ควรมีการติดตาม วิเคราะหสาเหตุ ประเมินสถานการณ การสำรวจขอมูลความเสียหาย
                                           ี่
                          และพื้นที่การเกษตรทรับผลกระทบจากภัยแลงในทกป ซึ่งจะเปนฐานขอมูลและตรวจสอบความถูกตอง
                                                                 ุ
                          ของขอมูลที่วิเคราะหออกได
                                        ี
                                                                                          ี่
                                                                                       ื้
                               5.2.3 การมสวนรวมของประชาชนในการรับมือปญหาแลงซ้ำซากในพนทจังหวัดกาญจนบุรี
                          จะมากหรือนอยนั้น ขึ้นอยูกับการรับรูถึงสาเหตุการเกิดภยแลง การเตรียมความพรอมรับมือปญหาภัยแลง
                                                                    ั
                                                                                                       ั
                             
                          หนวยงานทงภาครัฐและภาคประชาชน ควรเขามามีสวนรวมในการสงเสริมการใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกบ
                                                             
                                   ั้
                                                        
                                                                                            ื่
                          สถานการณภัยแลง แกเกษตรกรอยางสม่ำเสมอ โดยผานสื่อตาง ๆ ใหมากขึ้น เพอสรางการรับรู
                          เกยวกับภัยแลงใหกบเกษตรกรสามารถปรับตัวไดทันกบสถานการณ เพอลดความเสียหายของผลผลต
                                                                                                       ิ
                            ี
                            ่
                                          ั
                                                                
                                                                    ั
                                                                               
                                                                                 ื
                                                                                 ่
                          ที่เกิดจากภัยแลงลงได รวมทั้งสามารถใชเปนขอมูลเพื่อวางแผนการผลิตในฤดกาลตอไป
                                                                                      ู
                                                                                          
                                                                                 ิ่
                                                 
                               5.2.4  ในการวิเคราะหขอมลดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตรควรเพมขอมูลตัวแปรอื่น ๆ ของพื้นที่
                                                   ู
                          ที่เปนปจจุบนหรือเปนขอมลในชวงขณะที่ทำการวิเคราะหพื้นที่เสี่ยงภัยแลง เชน ขอมลดาวเทียม
                                    ั
                                                                                                ู
                                                ู
                                              
                                                       ู
                          เพื่อใหทันสถานการณและเพิ่มความถกตอง แมนยำ ในการวิเคราะหขอมูลมากยิ่งขึ้น
                                                    ื้
                               5.2.5 การวิเคราะหขอมูลพนที่แลงซ้ำซากโดยการซอนทับขอมูลดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                                                                                              ิ
                          ในอนาคตอาจมการรวมมือกับนักวิจัย และผูเชี่ยวชาญสาขาตาง ๆ เพื่อพฒนาทั้งวธีการวเคราะหขอมูล
                                      ี
                                                                                         ิ
                                                                                  ั
                                                   
                                                        
                                                                  ิ
                                                                                   ู
                          ปจจัยทเกี่ยวของ เพื่อความถกตอง แมนยำ ในการวเคราะหขอมูล รวมถึงบรณาการกับหนวยงานตาง ๆ
                                                ู
                                ี่
                                       ั
                                                                  
                                ี่
                          ในพนทประสบภยแลง เพอหาทางออกรวมกัน แกปญหา ลดผลกระทบและความเสียหายจากภัยแลง
                                              ื่
                              ื้
                                ั่
                          อยางยงยืน
                               5.2.6  ในการตรวจสอบพื้นที่การเกษตรที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลง ในอนาคตอาจตองมี
                                                                                                 
                                                                                  ั
                          หลักเกณฑที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นในการประเมินวาพื้นที่บริเวณที่ประสบภยแลงนั้น ประสบปญหาจริง
                                                                                               ื
                          หรือไม และไดรับผลกระทบมากนอยเพียงใด ตัวอยางเชนปริมาณผลผลิตมาตรฐานของพชแตละชนิด
                                                                                          ี่
                                                                                               
                                         ั้
                                                                                                  ั
                          ในแตละพื้นที่ อีกทงความเสียหายในบางกรณีเกิดจากการจัดการพื้นที่เพาะปลูกทแตกตางกนของตัว
                          เกษตรกรเองหรือปญหาจากปจจัยดานอื่น ๆ แลวสงผลกระทบหรือไม เพื่อความถูกตองของขอมูล
                          นำไปสูการวางแผนเพอบริหารจัดการพื้นที่ไดอยางตรงจุดตามสภาพปญหาของพื้นที่
                                           ื่
                          5.3  ประโยชนที่ไดรับ
                               5.3.1  ใชเปนฐานขอมูลในการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่เสี่ยงภัยแลง และการเตือนภัย
                          แกเกษตรกรในการวางแผนเพาะปลูกพืชลวงหนา เพอหลีกเลี่ยงและลดความสูญเสียทางเศรษฐกจ
                                                                     ื่
                                                                                                       ิ
                          ที่อาจจะเกิดขึ้นจากภัยแลง
                               5.3.2  ใชเปนฐานขอมูลในการวางแผนการใชที่ดิน การกำหนดเขตปลูกพืชเศรษฐกิจ และการวางแผน
                          การเพาะปลูกพืชใหมีความเหมาะสมตามสภาพพื้นที่ และตามสภาวการณ ซึ่งจะชวยลดผลกระทบ
                          และความเสี่ยงจากภัยแลงที่จะเกิดขึ้นจากการทำการเกษตรในพื้นที่
                                              
                               5.3.3 ใชเปนฐานขอมูลในการวางแผนพัฒนา บริหารจัดการพื้นที่เสี่ยงภัยแลง การประกัน
                                          ื
                          ความเสียหายของพชผลทางการเกษตรจากการไดรับผลกระทบจากภัยแลง ซึ่งจะชวยลดผลกระทบ
                                                                                     ี่
                          และลดความสูญเสียทางเศรษฐกจ อีกทงสามารถลดการใชจายงบประมาณทจะนำไปใชในการชดเชย
                                                   ิ
                                                        ั้
                                          ื้
                          ความเสียหายของพนที่เกษตรที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลง
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82