Page 76 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 76

67




                                                                                      
                                                             
                                                   ิ
                                                                                   
                                                                                                   ั
                                                                                          ้
                                                                ื
                                                                                                      ื
                                                                                                      ้
                                                                ้
                                                                   ่
                                     
                                      ั
                                                                   ี
                                             
                          สถานะการณภยแลงอยางใกลชด เนืองจากเปนพนทประสบภัยแลงคอนขางบอยครังประกอบกบพนท ี ่
                                                      ่
                          สวนใหญเปนพนที่ทำการเกษตรนอกเขตชลประทาน และเปนเกษตรน้ำฝน ในชวงแลงจึงไมควรใชที่ดิน
                                                                                           
                                      ื้
                                   
                                                                                              ื่
                                               ื
                                                            ึ
                          ในการทำการเกษตรแบบพชเดิมซ้ำ ๆ รวมถงพจารณาการปรับเปลี่ยนการปลูกพืชชนิดอนที่ใชน้ำนอย
                                                              ิ
                          หรือการผลิตในรูปแบบหรือวิธการอนที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่มากกวา เชนปรับเปลี่ยนการผลิตขาว
                                                     ื่
                                                 ี
                               
                                                     ้
                                                  ี่
                                               ื่
                          ไปเปนพืชเศรษฐกิจชนิดอนทใชนำนอยกวาใหสอดคลองและเหมาะสมกับศักยภาพของพนที่และ
                                                                                                  ื้
                          มีตลาดรองรับ สวนพืชที่มีอายุมากกวาหนึ่งป ควรมการเพิ่มอนทรียวัตถุในดินเพอเปนการปรับโครงสรางดิน
                                                                       ิ
                                                                ี
                                                                                     ื่
                                                ิ
                                                              ้
                                               
                                                                 
                                                            ั
                                                                   
                                                         ็
                                     
                                ิ
                                ่
                                                                                               ่
                                                                                                   
                                                                     ื
                          และเพมชองวางในดินทำใหดนสามารถเกบกกนำไวได เพอลดผลกระทบและความเสียหายทีจะไดรับจาก
                                                                     ่
                          ภัยแลง
                               5.1.3 พื้นที่แลงซ้ำซากระดับที่ 3 เปนพื้นที่แลงซ้ำซากเกิดซ้ำ ไมเกิน 3 ครั้ง ในรอบ 10 ป
                                                                                         ี่
                                                ั
                                   พื้นที่นี้ประสบกบปญหาความแหงแลงนอยมาก จึงสงผลกระทบตอพื้นทการเกษตรไมมากนัก
                                                                 
                                                 ิ
                                                                     ี
                                                                                                 
                                                                       ้
                                                                   
                                                       ้
                          พนทแลงซ้ำซากเกดซ้ำ ไมเกน 3 ครัง ในรอบ 10 ป มเนือทีแลงซ้ำซาก 593,281 ไร คิดเปนรอยละ
                              ่
                              ี
                                               
                            ื
                                                                         ่
                                         ิ
                            ้
                                                                                          ี
                          4.87 ของพื้นทจังหวัดกาญจนบุรี โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่อำเภอทองผาภูมิ มเนื้อที่ 100,994 ไร
                                                                
                                      ี่
                          อำเภอไทรโยค มีเนื้อที่ 85,264 ไร และอำเภอหนองปรือ มีเนื้อที่ 65,340 ไร
                                                         ื้
                                   แนวทางการบริหารจัดการพนที่เกษตร โดยสรางแหลงน้ำในไรนา ขดลอกแหลงน้ำธรรมชาต  ิ
                                                                                      ุ
                                                                                                       ั
                          เพื่อใชประโยชนในชวงฤดูแลงไดอยางเตมศักยภาพ พรอมทั้งสรางการรับรูแกเกษตรกรในเรื่องของภย
                                                          ็
                                                       ี
                                         ิ่
                          แลง ซึ่งเปนการเพมศักยภาพหรือขดความสามารถในการรับมือกับภัยแลงรวมถึงควรเฝาระวังและ
                                                                           
                                                                                                       ิ
                          ติดตามสถานะการณภัยแลงอยางใกลชิด โดยจะสังเกตไดวาพื้นที่แลงซ้ำซากในระดับนี้อาจเกด
                                                                                                 ี่
                                                       ื้
                          ไมบอยครั้งนักเมอเปรียบเทยบกับพนที่แลงซ้ำซากทั้ง 2 ระดับขางตน แตปญหาของพื้นทเหลานี้คือ
                                                ี
                                        ื่
                                                             ั
                          การขาดแคลนน้ำในชวงฤดูแลงเชนเดียวกน ดังนั้น เกษตรกรก็ควรวางแผนการเพาะปลูกและมี
                          การบริหารจัดการน้ำใหดี เกษตรกรอาจสามารถทำการปลูกขาวซึ่งเปนพืชที่มีความตองการน้ำคอนขางมาก
                          ไดตอไป แตควรเพิ่มเตมดวยการปลูกพชหลังนา ไดแก การปลูกพืชปุยสด เชน พชตระกูลถั่ว ปอเทือง
                                    
                                            ิ
                                                                    
                                                         ื
                                                                                         ื
                          ถั่วพรา ควบคูกับการใชปุยอนทรียเพอเพิ่มความอดมสมบรณของดินและปรับปรุงโครงสรางดินใหมี
                                                 ิ
                                                        ื่
                                                                  ุ
                                                                        ู
                                                                                     ั่
                          ศักยภาพในการอมน้ำไดดีขึ้น การเลือกปลูกพืชอายุสนและใชน้ำนอย เชน ถวฝกยาว แตงกวา ถั่วเขยว
                                                                                                      ี
                                                                   ั้
                                        ุ
                                                                                    ื่
                          และถั่วเหลือง  หรืออาจปรับเปลี่ยนการผลิตมาทำเกษตรผสมผสานเพอลดความเสี่ยงที่จะไดรับ
                                                                                   ิ
                                                                  
                          ผลกระทบจากสภาวะภัยแลง สวนพืชที่มีอายุมากกวาหนึ่งป ควรมีการเพิ่มอนทรียวัตถุในดินเพื่อเปนการ
                                                                                      
                                                                                        ื่
                                               ิ่
                          ปรับโครงสรางดินและเพมชองวางในดินทำใหดินสามารถเก็บกักน้ำไวได เพอลดผลกระทบและ
                                                                
                          ความเสียหายที่จะไดรับจากภัยแลง
                          5.2  ขอเสนอแนะ
                               5.2.1 การวเคราะหขอมูลพนที่แลงซ้ำซากโดยการซอนทับขอมูลดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                                                                                 
                                        ิ
                                                    ื้
                            ื่
                          เพอใหมีการวิเคราะหขอมูลมีความถูกตองและใกลเคียงกบความเปนจริงมากที่สุด ควรใชขอมูลตัวแปรอื่น ๆ
                               
                                                                    ั
                                                                                            
                                             ู
                                        
                                 
                          ที่เกี่ยวของและเปนขอมลที่สงผลตอระดับความรุนแรง เชน ความตองการน้ำของพืชที่ทำการเพาะปลูก
                                                                                  ั
                                        
                                     
                                                 ิ
                          กจกรรมมนุษย เปนตน มาใชวเคราะหรวมดวยเพอเชือมโยงขอมลเขาดวยกน เพอใหขอมลมความละเอยด
                                                
                                                               ื
                                                                                                      ี
                                                                  ่
                                                               ่
                            ิ
                                                                                          
                                                                             
                                                           
                                                                                        
                                                                          ู
                                                                               
                                                                                            ู
                                                                                              ี
                                                                       
                                                                                     ื
                                                                                     ่
                          และมีความถูกตองมากที่สุด
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81