Page 38 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 38
29
ิ
สำปะหลัง พบวา ในทั้ง 3 เนื้อดน ที่ปลูกปาลมน้ำมันมีความสัมพันธระหวางปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินนอย
ี
เพราะวาในหลายพื้นทปลูกปาลมน้ำมันในจังหวัดสระแกวมักมีหนาดินเปนหินหรือกรวดอาจสงผลใหคา
่
ั
ี
้
ี
ิ
่
ื่
ั
ความชื้นที่วัดมีความคลาดเคลอนซึ่งหลกความเปนจริงเนือดนทคอนขางละเอียดนาจะมความสมพันธระหวาง
ั
ุ
ปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินที่สอดคลองกันมากที่สุดเนื่องจากมีคณสมบติในการอุมน้ำไดดีทสุด รองลงมาจะ
ี่
้
ั
เปนเนือดนปานกลาง และเนื้อดนหยาบ ตามลำดบ
ิ
ิ
4.2 ขอเสนอแนะ
4.2.1 ลักษณะเนื้อดินมีความสัมพันธกับความชื้นในดิน ความชื้นในดินจะเปนประโยชนตอพืชมากหรือ
ี
นอยขึ้นอยูกับเนื้อดิน จึงควรเก็บตัวอยางดินไปวิเคราะหในหองปฏิบติการ เพราะเนือดนเปนสมบัตสำคญททำ
ั
่
ิ
ิ
้
ั
ใหการเก็บความชื้นในดินไดดีเพียงใด ซึ่งไดคาความชื้นของดินที่มีความถูกตองและแมนยำมากยิ่งขึ้น
4.2.2 เนื่องจากเปนการศึกษาความสัมพันธของปริมาณน้ำฝนกับความชื้นดิน ในกรณีที่ฝนไมตกทำให
การเปรียบเทียบความสัมพันธคอนขางยาก จึงควรติดตั้งสถานีตรวจวัดอากาศในแตละพื้นที่ศึกษา
ี่
ุ
ิ
ี่
4.2.3 พื้นที่ศึกษาบางจดโดยเฉพาะพื้นที่ทมีสภาพการใชทดินเปนพืชไร มีการเก็บเกี่ยวผลผลตระหวาง
ชวงที่ทำการศึกษา อาจมีผลทำใหคาความชื้นดินที่วัดไดมีความคลาดเคลื่อน เนื่องจากสิ่งปกคลุมดินมีสภาพ
เปลี่ยนไป
4.2.4 การศึกษาครั้งตอไปควรเลือกแปลงที่อาศัยน้ำฝนในการเจริญเติบโตจะไดคาความสัมพันธของ
ปริมาณน้ำฝนกับความชื้นดินที่ดีกวานี้
4.3 ประโยชนที่ไดรับ
ื
้
่
4.3.1 ไดความสัมพันธของปริมาณน้ำฝนกับความชืนดินในพื้นทีเสี่ยงภัยแลง เพื่อใชในการหาความชน
้
ในพื้นที่ตาง ๆ
4.3.2 เกษตรกรในพื้นที่มีการปรับตัวในการเลือกพืชที่ปลูกไดอยางเหมาะสมกับเนื้อดิน สภาพอากาศ
เพื่อใหไดรับผลกระทบจากภัยแลงนอยลง ลดตนทุนการผลิตพืชและเพิ่มรายไดจากการปลูกพืชและการจดการ
ั
ในพื้นทีไดอยางเหมาะสม
่
4.3.3 สามารถนำขอมูลความสัมพันธของปริมาณน้ำฝนกับความชื้นดินมาเปนปจจัยรวมในการวิเคราะห
พื้นที่เสี่ยงภัยแลง