Page 78 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 78

68



                     จากวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้ าฝน ร่วมกับจ านวนวันที่ฝนตกในหนึ่งปี เพื่อก าหนดเขตพื้นที่ความแห้งแล้ง
               ตามปริมาณน้ าฝนที่ตก หรือตามโอกาสที่ฝนตก พบว่าใน พ.ศ. 2557 สามารถก าหนดเขตพื้นที่ความแห้งแล้ง

               ออกเป็น 2 เขตคือ (ภาพที่ 16)
                                (1)  เขตพื้นที่ที่มีโอกาสฝนตกระหว่าง 71 ถึง 90 วันต่อปี ถือว่าเป็นเขตกึ่งแห้งแล้ง พบ
               บริเวณจังหวัดตาก ชัยภูมิ และสุพรรณบุรี
                                (2)  เขตพื้นที่ที่มีโอกาสฝนตกมากกว่า 90 วันต่อปี ไม่ถือว่าเป็นเขตแห้งแล้งถือว่าเป็นเขตกึ่ง

               แห้งแล้ง ถึง ไม่แห้งแล้ง พบกระจายทั่วพื้นที่ประเทศไทย

                           2)  พื้นที่แห้งแล้งตามค่าดัชนีความแห้งแล้งทางการเกษตร เป็นปัจจัยที่จะบ่งชี้ในเรื่องของการ
               ขาดแคลนความชื้นหลังจากสิ้นฤดูฝน จากการวิเคราะห์ดัชนีชี้วัดสภาวะฝนโดยใช้ ค่าดัชนีความแห้งแล้ง

               ทางด้านการเกษตร ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนกันยายน (GMI ) ให้อยู่ในรูปของ percentile  rank
                                                                         9
               (GMI )  พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยอยู่ในเกณฑ์ปกติ ถึง มีความชื้นสูงเกินความต้องการ ซึ่งใช้ ค่า
                    pct
               ดัชนีความแห้งแล้งทางด้านการเกษตรอยู่ในเกณฑ์ปกติ (GMI  มีค่าระหว่าง 41  ถึง 60) กระจายทั่วทุกภาค
                                                                  pct
               ของประเทศไทย โดย 5 ล าดับแรกที่มีพื้นที่มากโดยเรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเนื้อที่

               7.99  ล้านไร่ รองลงมา ได้แก่ อุบลราชธานี 7.30  ล้านไร่ ชัยภูมิ 5.23  ล้านไร่ เชียงใหม่ 5.08  ล้านไร่ และ

               นครราชสีมา 4.43 ล้านไร่ ตามล าดับ พื้นที่ที่มีความชื้นสูงกว่าค่าปกติ (GMI  มีค่าระหว่าง 61 ถึง 90 )พบ
                                                                              pct
               มากที่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดย 5 ล าดับแรกที่มีพื้นที่มากโดยเรียงจากมากไปหา

               น้อย ได้แก่ บริเวณจังหวัดนครราชสีมามีเนื้อที่ 7.89  ล้านไร่ รองลงมา ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี มีเนื้อที่ 5.69

               ล้านไร่ ศรีสะเกษ มีเนื้อที่ 5.30 ล้านไร่ เพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ 5.18 ล้านไร่ และ สกลนคร มีเนื้อที่ 4.64  ล้านไร่
               ตามล าดับ  พื้นที่ที่มีความชื้นสูงเกินความต้องการ (GMI   มีค่าระหว่าง 91  ถึง 100  )  พบบริเวณภาคใต้ของ
                                                              pct
               ประเทศไทย บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช มีเนื้อที่ 0.20 ล้านไร่ ปัตตานี 0.08 ล้านไร่ และ สงขลา 0.03 ล้านไร่
               อย่างไรก็ดี มีหลายพื้นที่ที่อยู่ในเกณฑ์แล้งจัด (GMI  มีค่าระหว่าง 0 ถึง 20) พบมากทางทิศตะวันตกของภาค
                                                         pct
               กลาง ภาคใต้ ภาคเหนือ ของประเทศไทยโดย 5  ล าดับแรกที่มีพื้นที่มากโดยเรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่
               จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 4.76 ล้านไร่ รองลงมาได้แก่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีเนื้อที่ 2.97 ล้านไร่ นราธิวาส

               มีเนื้อที่ 2.71 ล้านไร่ เพชรบุรี 2.35 ล้านไร่ และ น่าน 2.04 ล้านไร่ ตามล าดับ (ตารางที่ 16 และ ภาพที่ 17)
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83