Page 9 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 9

บทที 1
                                                                 ่
                                                            บทนำ



                  1.1  หลักการและเหตุผล
                        ทรัพยากรดินนับเปนปจจัยการผลิตในภาคการเกษตรโดยเปนแหลงเพาะปลูกพืช จากการสำรวจ

                                                                                                          ี
                  สภาพการใชที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน พบวาประเทศไทย มีพื้นที่ทำการเกษตร 177,986,476 ไร (กรมพัฒนาท่ดิน,
                                                                                           ี่
                                                                                                      
                  2564) แตมีพื้นที่ชลประทานเพียง 27,254,444 ไร (กรมชลประทาน, 2564) จะเห็นไดวาพื้นทเกษตรกรรมสวนใหญ
                  อยูนอกเขตชลประทาน ซึ่งสภาพพื้นที่การเกษตรที่อาศัยน้ำฝนในการเพาะปลูก มักประสบภัยแลงซ้ำซาก
                                     
                                                                                                             ิ
                  เปนประจำเกือบทุกป หากพื้นที่ดังกลาวเปนพื้นที่เงาฝน (Rain shadow) ปริมาณจะฝนตกนอยกวาปกต
                            
                                                              ู
                                                  
                    
                                   
                                                      
                                                                                                   ู
                  ไมเพียงพอตอความตองการ หรือ ฝนไมตกตองตามฤดกาล ปริมาณน้ำจึงไมเพียงพอตอการเพาะปลก ทำใหเกิด
                                                                                                         
                  การขาดแคลนน้ำ สงผลใหพื้นที่เกษตรที่เกิดภัยแลงซ้ำซากเปนประจำ (ตั้งแต 6 ครั้งขึ้นไปในรอบ 10 ป)
                  มีเนื้อที 2,620,064 ไร (กรมพัฒนาที่ดิน, 2561) นอกจากนีการเกิดปรากฏการณเอลนีโญกำลงออน (Weak El Nino)
                        ่
                                                                                
                                                                ้
                                                                                          ั
                  และปรากฏการณ Positive Indian Ocean Dipole (Positive IOD) (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2562) ทำใหสภาพอากาศ
                                  ่
                                  ี
                                                     
                                                        ่
                                                        ิ
                  ของประเทศไทยเปลยนแปลง โดยเฉพาะอยางยงการกระจายตวของฝน ภัยแลงที่กอใหเกิดความเสียหายอยางมาก
                                                                    ั
                  ไดแก ฝนแลงที่เกิดในชวงฤดูฝน หากเกษตรกร  ไมคำนึงถึงชนิดพืชที่ปลูก หรือการกำหนดชวงที่เหมาะสม
                                              ิ
                                                
                                         
                                              ้
                          ู
                  ในการปลกพืชอาจกระทบตอฝนทงชวงได    
                        การคาดการณภัยแลงเปนสิ่งที่สำคัญในการรับมือกับปญหาสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขน
                                                                                                           ึ
                                                                                                           ้
                                                                                                             
                  แตการคาดการณภัยแลงจำเปนตองใชขอมูลความชื้นในดิน เพื่อเพิ่มความแมนยำของขอมูลคาดการณ
                                                                                                             
                  ซึ่งการศึกษาขอมูลความชื้นในดินของประเทศไทยยังมีนอย ทั้งที่เปนฐานขอมูลที่สำคัญที่จะนำมาใช
                                                                                                     ั
                                                                                                  
                  ในการคาดการณพื้นทเสี่ยงภัยแลงของประเทศ ปจจัยที่เกี่ยวของกับระดับความชื้นในดินมีหลายปจจยไมวาจะ
                                    ี่
                  เปนดน พืช หรือสภาพอากาศ  โดยเฉพาะอยางยิ่งปริมาณน้ำฝน ซึ่งเปนปจจัยหลักที่จะสงผลตอระดบความชนในดน
                                                                                                       ื้
                                                                                                ั
                    
                      ิ
                                                                                                           ิ
                  โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่นอกเขตชลประทาน การที่จะไดมาซึ่งขอมูลความชื้นในดินจำเปนตองมการติดตง
                                                                                                     ี
                                                                                                            ้
                                                                                                            ั
                                                                                                          
                  เครื่องมือหรือมีการเก็บขอมูลจากพื้นที่โดยตรง ซึ่งมีขอจำกัดดานเวลาและคาใชจาย แตในทางตรงกันขาม
                                                                                                         
                  การหาขอมูลปริมาณน้ำฝนสามารถทำไดงาย เนื่องจากการวัดปริมาณน้ำฝนทำไดงายกวา ทั้งยังสามารถหาไดงาย
                  จากหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ดังนั้นการทราบความสัมพันธระหวางปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดิน
                  จะทำใหสามารถหาขอมูลความชื้นดินไดสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถนำขอมูลความชื้นดน
                                                                                                           ิ
                  ไปวิเคราะหรวมกับขอมูลการกระจายตัวของสภาพภูมิอากาศเพื่อจัดทำเปนฐานขอมูล โดยจะทำใหการประเมิน
                  พื้นที่เสี่ยงภัยแลงมีความแมนยำมากยิ่งขึ้น ชวยใหเกษตรกรสามารถวางแผนการเพาะปลูกพืช
                                                                                                           ิ
                  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มีการปรับตัวรับมือใหเขากับภัยแลงที่จะเกิดขึ้น รวมไปถึงการจัดทำปฏิทน
                  การปลูกพืชในพื้นที่เสี่ยงภัยแลงไดอีกดวย
                         ั
                           ุ
                  1.2   วตถประสงค  
                                                                                                      
                                                                                                           ั
                                                                                             ่
                                                                                             ี
                        1.2.1  เพื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางปริมาณน้ำฝน ลักษณะดินและสภาพการใชทดนทมผลตอระดบ
                                                                                            
                                                                                                 ี
                                                                                                   ี
                                                                                               ิ
                                                                                                 ่
                  ความชื้นในดิน
                        1.2.2 เพื่อเปนฐานขอมลความสัมพันธระหวางปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแลง
                                           ู
                               ่
                                     
                        1.2.3 เพือทำใหเกษตรกรสามารถจดการระบบเพาะปลกพืชไดอยางมประสทธิภาพ
                                                     ั
                                                                             
                                                                                 ี
                                                                                     ิ
                                                                     ู
                                                                           
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14